รัฐธรรมนูญ

141 ต้องส่งศาลรธน ทุกกรณีไม่มีข้อยกเว้นไม่ว่าจะมีผู้โต้แย้งหรือไม่
141
บทบังคับเด็ดขาด ต้องส่งเสมอ
141 ผู้ส่ง คือ
ประธานรัฐสภา คนเดียวเท่านั้น
ประธานสภาผู้แทนราษฎร คือ ประธานรัฐสภา

154 ดุลพินิจ ส่งไม่ส่งก็ได้ ขึ้นอยู่กับมีคนโต้แย้งไหม
การส่งตาม141 154 กมนั้นผ่านรัฐสภาแล้วเท่านั้น

211 (เดิม 264รธน40)
1.โต้แย้งว่ากมขัดรธน
2. กมต้องเป็นกมที่จะนำมาปรับใช้แก่คดี
3.ศาลเห็นเองหรือคู่ความโต้แย้ง
4.กมที่โต้แย้งต้องขัดกับรธน มาตรา6
5.ยังไม่มีคำวินิจฉัยของศาลรธนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบทบัญญัตินั้น

211 ใช้ได้ทุกชั้นศาล แต่ต้องก่อนคดีถึงที่สุด

211 ผู้มีอำนาจโต้แย้ง1.ศาล 2.คู่ความ
อำนาจส่งเรื่อง คือ ศาลที่คดีนั้นอยู่ระหว่างพิจารณา
ศาลรธน.ตรวจสอบว่าใครโต้แย้ง
ถ้าศาลโต้แย้ง ศาลรธน.ต้องวินิจฉัยให้เสมอใช้ดุลพินิจไม่ได้
ถ้าเป็นคู่ความ ศาลรธน.มีอำนาจใช้ดุลพินิจ

211 โต้แย้งว่ากมขัดรธน.
1.กมวิธีพิจารณาความ วิพ วิอ
2.กมสารบัญญัติ ปพพ ปอ ล้มละลาย
การโต้แย้ง 211 212 245 257 ต้องบรรยาย
1.กมที่อ้างว่าขัดชื่อ
2.มาตรา
3.ขัดกับรธนมาตราใด
ศาลรธนมีอำนาจหยิบยกมาตราที่คู่ความไม่ได้อ้างมาวินิจฉัยได้

โทษจำคุกตาม102(5) โทษจำคุกตามหมายจำคุกเมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว
คนที่เ็ป็นสวได้115(5) ห้าม บุพการี คู่สมรส บุตรของสส ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มิได้หมายความรวมถึงส.ว. แต่หมายถึง ผู้ดำรงคำแหน่งทางการเมืองอื่นเท่านั้น
115(5) มิได้มีเจตนารมณ์ว่าเมื่อสามีภริยาคนใดเป็นสวแล้ว จะห้ามมิให้สามีภริยาเป็น สว อีก
รธน เดิม266ปจบ214 ส่งศาลรธน.ต้องเป็นการขัดขององค์กร2องค์กรขึ้นไปขัดกัน
ถ้าขัดแย้งในองค์กรเดียวกันจะส่งเรื่องไปศาลรธน.ไม่ได้
องค์กรตามรธน.มีหลัก2อย่าง1.จัดตั้งโดยรธน. และ2.รธน.กำหนดอำนาจหน้าที่ไว้ ต้องครบ2อย่าง
กทม. เมืองพัทยา อบจ อบต เทศบาล ไม่ใช่องค์กรตามรธน.ตาม214
กกต เป็นองค์กรตาม รธน.
กกต.ออกระเบียบไม่ชอบ ฟ้อง
ศาลปกครองตามรธน233 ฟ้องศาลรธน.ไม่ได้
214 ไม่รวม
ศาล ส่งไปศาลรธนไม่ได้
214 รัฐสภา ครม องค์กรตามรธน.
214 มีปัญหาเกิดขึ้นจริงเท่านั้น ปัญหายังไม่เกิดส่งไม่ได้
237 ว2 บทบังคับเด็ดขาด ไม่อาจใช้ดุลพินิจเป็นอย่างอื่นได้
การอ้างกมขัดรธม
ก่อนประกาศ 141 154
หลังประกาศ 211 212 245 257
คดีเลือกตั้ง 102 8860/50 115(5) 996/51
ปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา





0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น