พรบ ละเมิด 39

การฟ้องให้รับผิด พรบ. ละเมิด 39
ฟ้องหน่วยงาน ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
หน่วยงานของรัฐมีสิทธิไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่ ต่อเมื่ิอ1.จงใจ 2.ประมาทเลินเล่อร้ายแรง
กรณีคดีเกิดก่อน 15 พ.ย 39
1.สิทธิหน้าที่ ถือตามกมแพ่งและพาญิชย์
2.วิธีสบัญญัติ(วิธีพิจารณาความ) ถือตามพรบนี้
การไล่เบี้ย
= ออกคำสั่งโดยไม่ต้องฟ้องศาล ตามม.12(คำสั่งนี้เป็นคำสั่งทางปกครองตามม.5พรบ.วิธีปฎิบัติ39)
1.ละเมิดบุคคลภายนอก 8ว1
2.ละเมิดหน่วยงานของรัฐ 10ว1

1.ละเมิดนอกหน้าที่
1.1 ไม่อยู่ใต้พรบละเมิด39นี้
1.2 ฟ้องศาลยุติธรรมเท่านั้น

2.ละเมิดในหน้าที่
2.1ละเมิดเกิดจาก
1.ออก กฏ,คำสั่งทางปกครอง
2.ใช้อำนาจตามกม.
3.ปฏิบัติหน้าที่ราชการ
4.ละเลยจากการปฏิบัติ
ฟ้องศาลปกครอง 9(3)
2.2ละเมิดเหตุอื่น ละเมิดตามวิอาญา ฟ้องศาลยุติธรรม

ขับรถเก็บขยะชนคน ละเมิดในหน้าที่ ดูว่ามาจากเหตุอะไร

ม.3พรบจัดตั้ง = หน่วยงานทางปกครอง เทศบาล รัฐวิสาหกิจ
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ไม่ใช่หน่วยงานทางปกครอง เพราะไม่ได้รับเงินจากแผ่นดิน+รัฐบาลไม่ได้ควบคุม แต่ถ้าได้รับมอบหมายก็จะเป็นหน่วยงานทางปกครอง
เนติบัณฑิต เป็นหน่วยงานทางปกครอง
สภาทนายความ เป็นหน่วยงานทางปกครองโดยสภาพ3เรื่องเท่านั้น
1.อำนาจควบคุม การอนุญาตไม่อนุญาตเป็นทนายความ
2.การวางกฎระเบียบต่างๆ
3.การลงโทษเกี่ยวกับวิชาชีพทนายความ
เรื่องอื่นนอกจากนี้ ไม่เป้นหน่วยงานทางปกครองแต่ถ้าได้รับมอบหมายอาจเป็นได้
ที่ดิน รัฐ+เอกชน พิพาท ฟ้องศาลยุติธรรม วินิจฉัยกรรมสิทธิื
33/45 กทม.สร้างทางด่วนทำให้เสียหายแก่หมู่บ้านจัดสรร ฟ้องศาลปกครอง
กทม.สร้างรุกล้ำที่เอกชน
ขุดถนนรุกล้ำ ขุดลอกท่อคูระบายน้ำทำให้ไม่สามารถทำการเกษตรได้ ออกนส3ไม่ถูกต้องทำให้ที่ดินถูกเพิกถอน กำหนดจุดก่อสร้างสะพานลอยไม่ถูกต้อง เปลี่ยนแปลงรูปแบบสะพาน
ฟ้อง
ศาลปกครอง
ทุจริตต่อหน้าที่,ซ้อมคนร้าย,ผู้บังคับบัญชาให้ลูกน้องขับรถไปตามหน้าที่แต่เหตุเกิดขณะขับกลับบ้าน,แย่งกระเป๋า เป็นละเมิดในหน้าที่
คำสั่งลงโทษทางวินัย เป็นคำสั่งทางปกครอง
คำสั่งทางปกครอง กฏ บังคับตามกมเฉพาะ ไม่นำวิธีปฏิบัติ39มาใช้
เว้นแต่ พรบ.วิธีปฏิบัติปี39เป็นคุณมากกว่า
ข้อยกเว้นซ้อน ขั้นตอนการอุทธรณ์การโต้แย้งให้บังคับตามกมเฉพาะเท่านั้น

อำนาจทางปกครอง ต้องเป็นอำนาจบริหารไม่ใช่นิติบัญญัติ
อำนาจบริหารต้อง ไม่ใช่อำนาจรัฐบาล หรือ อำนาจตามตามรธน.


0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น