จำนอง

ลูกหนี้ชั้นต้น

เจ้าหนี้ฟ้องตาม

1.สัญญาประธาน 213,214 ฟ้องได้ทั้งทรัพย์จำนอง+ทรัพย์อื่นโดยไม่ต้องดูว่ามีข้อยกเว้น 733หรือไม่

2.สัญญาจำนอง 728,729 ผล 7331.ไม่มีสัญญายกเว้น 2.บังคับทรัพย์อื่นไม่ได้

733 ตกลงยกเว้นได้ ไม่ใช่กมเกี่ยวกับสงบเรียบร้อย

2.ถ้าหนี้เดิมขาดอายุความ เช่นขาดอายุความมรดก

ไม่มีสิทธิบังคับเอากับทรัพย์อื่น บังคับได้แค่ทรัพย์จำนองกับดอกเบี้ยย้อนหลังไม่เกิน5ปี

ตาม ม.1754ว3+193/27+745


722 ทรัพยสิทธิไม่รวมจำนอง

731 หนี้จำนองรายหลังถึงกำหนดชำระก่อน

722 หนี้จำนองต้องถึงกำหนดชำระ

สัญญาเช่า ไม่ใช่ภาระจำยอม และหาใช่เป็นทรัพยสิทธิอย่างอื่นไม่เพราะเป็นเพียงบุคคลสิทธิเท่านั้น

แต่เจ้าหนี้ผู้รับจำนองอาจฟ้องเพิกถอนการจดทะเบียนการเช่าได้ตาม มาตรา237

รับผิดไม่เกินสัญญาประธาน แต่อาจจำกัดความรับผิดในสัญญาอุปกรณ์ได้


ข้อความในสัญญาจำนอง บังคับว่าต้องมี ไม่มีเป็นโมฆะ

1.704,708 ทรัพย์สินซึ่งจำนอง (โยงมาตรา718-720ได้)

2.จำนวนเงินที่จำนอง


ข้อความที่ไม่มีผลบังคับ ถ้ามีการปฏิบัติตาม ฝ่ายที่เสียเปรียบมาขอให้ศาลบังคับไม่ได้

1.711,712,

2.718 ทรัพย์ ทั้งปวง อันติดพันอยู่กับ ทรัพย์สินซึ่งจำนอง พิจารณาตามหลักส่วนควบทรัพย์ที่เป็นส่วนควบติดไปด้วย


3.แม้มีสัญญายกเว้นแต่ไม่มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์อื่น มีสิทธิเช่นเดียวกับเจ้าหนี้อื่น ไม่มีสิทธิได้รับจำนองก่อนเจ้าหนี้อื่น

บุคคลภายนอก

1.ต้องฟ้องตามสัญญาจำนอง

2.724 ว1ว2 เกิดขึ้น มิใช่การบังคับจำนองไม่เข้า733

(724-727 ใช้กับบุคคลที่สามที่มาจำนอง

722 723 ใช้ทั้ง2คน)

724 ว2 คือ ราคาทรัพย์ที่ขายทอดตลาด -(ลบ) ค่าธรรมเนียมในการบังคับจำนอง,ค่าเจ้าพนักงานบังคับคดี

บุคคลที่สาม

1.702+709+724+733

2.710+734+ปวิพ284

710 การจำนองก่อนหลังไม่ถือว่าระบุลำดับการบังคับจำนอง หรือหากไม่มีการระบุไว้ผู้รับจำนองจะมีสิทธิตาม734


734 ว1 เจ้าหนี้บังคับจำนองไม่พร้อมกัน

734 ว2 บังคับจำนองพร้อมกัน

734 ว3 บังคับจำนองเพียงสิ่งเดียวแต่เป็นทรัพย์ที่มีการจำนองซ้ำ


734 ว1 ผู้จำนองที่ถูกบังคับจำนองจะเกี่ยงให้ไปบังคับเอากับลูกหนี้ชั้นต้นหรือผู้จำนองคนอื่นไม่ได้


734 ว2 ต้องไม่ห้ามตาม734ว ท้าย ถึงบังคับพร้อมได้

734 ว2 หนี้ประธาน คูณ ราคาที่ขายทอดตลาดได้ หาร ผลรวมราคาทรัพย์ทุกสิ่งที่ขายทอดตลาดได้

712+730+732

734 ผู้รับจำนองรายแรก รับจำนองทรัพย์หลายสิ่งเพื่อประกันหนี้รายเดียวของตน ต่อมาผู้จำนองเอาทรัพย์บางสิ่งไปจำนองซ้ำแ่ผู้รับจำนองรายที่2 ถ้าผู้รับจำนองรายแรกบังคับทรัพย์เพียงสิ่งเดียวและเป็นทรัพย์ที่มีการจำนองซ้ำ ทำให้ผู้รับจำนองรายที่2ไม่ได้รับชำระหนี้ กมจึงให้ผูจำนองรายที่2เข้ารับช่สวงสิทธิของผู้รับจำนองรายแรก

710+724+725+726

725 แม้ระบุลำดับไว้ ผู้จำนองด้วยกันก็ไล่เบี้ยกันเองไม่ได้ มีสิทธิแค่ 724 ได้รับใช้คืนจากลูกหนี้เท่านั้น

มีสืิทธิตาม 726 เท่านั้น

682 ว2 ผู้ค้ำหลายคนไล่เบี้ยกันเองได้ ลูกหนี้ร่วม

726 ปลดจำนอง ไม่ใช่ปลดหนี้ประธาน

ผู้จำนองไม่จำต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนองแก่เจ้าหนี้

735 ผู้จำนองตาย ทายาทถือเสมือนหนึ่งเป็นผู้รับจำนอง

721 ค่าเช่าอันเป็นดอกผลนิตินัยต้องเกิดจากการเช่าที่มีอยู่ก่อน ขณะบังคับจำนองมีการเช่ากันจริง ไม่ใช่ค่าเช่าที่อาจคาดหมายได้ว่าจะมีอยู่ในภายหน้า

บังคับจำนอง

1.บอกกล่าวว่าให้ชำระหนี้ภายในเวลากี่วัน

2.หากไม่มีการชำระหนี้ ฟ้องบังคับจำนอง 728,729

733 ลูกหนี้ตามสัญญาประธาน

711 หลังหนี้ถึงกำหนด สมบูรณ์ แต่หาใช่การบังคับจำนองไม่ ลูกหนี้ต้องใช้ส่วนที่ขาดแม้ไม่มีสัญญายกเว้น

ไม่ใช่บังคับจำนอง มี 3อย่าง

1.724ว1 ผู้จำนองไปชำระหนี้

2.736 738 การไถ่ถอนจำนอง ไม่ใช่การบังคับจำนอง ลูกหนี้ต้องใช้ส่วนที่ขาดแม้ไม่มีสัญญายกเว้น

3.711 ตกลงเมื่อหนี้ถึงกำหนด เข้า321ตีใช้หนี้

728 ต้องบอกกล่าวไปยังผู้จำนองด้วย บอก1.ลูกหนี้ 2. ผู้จำนอง 2คน

728 จดหมายบอกกล่าว
744 (1)มิใช่ 193/9 193/10 745 193/27

จำนำ
747 750 758 761 764 767 769
750 สิทธิ ซึ่ง มีตราสาร สิทธิตามสัญญากู้ยืม สิทธิตามสัญญาซื้อขาย สิทธิตามสัญญาเช่าซื้อ มิใช่สิทธิซึ่งมีตราสาร
เงินที่ฝากกับธนาคารเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารแล้ว การที่มอบสมุดเงินฝากให้ธนารคารไม่ใช่การค้ำประกัน ไม่ใช่การจำนำเงินฝากด้วย
ตั๋วเงิน
900 927 967
2 ชนิด
1.ระบุชื่อ มีทั้ง 3 ประเภท
2.ผู้ถือ ไม่มีในตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ประเภท
1.ตั๋วแลกเงิน
2.ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3.เช็ค

สลักหลังเฉพาะ 917+919 ว1
ระบุชื่อผู้รับสลักหลัง+ลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง
สลักหลังลอย
ลงลายมือชื่อผู้สลักหลังที่ด้านหน้า










0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น